ทั้งนี้
คะน้ายังอุดมไปด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์มากมาย ได้แก่
ผักที่มีปริมาณ
แคลเซียมค่อนข้างสูง ซึ่งช่วยในการเสริมสร้างความแข็งแรงของกระดูก
ผักคะน้าที่ดี กินแล้วอร่อย ควรเลือกที่ไม่แก่จนเกินไป วิธีสังเกตให้ดูรอยตัดตรงโคนต้น ถ้าเป็นเส้นสีขาวเล็ก ๆ แสดงว่ายังไม่แก่เกินไป แต่หากเป็นเส้นสีขาวขนาดใหญ่จะเป็น
คะน้าที่แก่ เหนียว และมีเสี้ยนเยอะ อีกจุดสังเกตที่สำคัญก็คือ ให้ดูใบของ
คะน้า ไม่ควรมีสีเหลือง ก้านและลำต้นไม่เหี่ยว
ปลาเค็มทำจากปลาหลายชนิด ทั้ง
ปลาอินทรี ปลาสลิด และ
ปลาช่อน นิยมนำไปประกอบอาหารแตกต่างกันออกไป
ปลาเค็มที่ดีควรเลือกปลาที่มีสีเป็นธรรมชาติ ไม่ผ่านการย้อมสีให้แดงสด หรือสีเข้มกว่าปกติ รวมทั้งจะมี
กลิ่นหอมอ่อน ๆ ของปลา และเกลือที่ใช้หมัก ไม่เหม็นตุ หรือมีแมลงวันตอมเยอะจนเกินไป ก่อนนำไปประกอบอาหารให้ล้างด้วยน้ำสะอาด 1-2 รอบ เพื่อกำจัดฝุ่นละอองและสารเคมีออก
ให้นำไปล้างด้วยน้ำสะอาดก่อน 1 รอบ นำมาพักไว้ให้สะเด็ดน้ำ จากนั้นนำไปล้างในน้ำเกลืออีก 1 รอบ แล้วแช่ไว้
สัก 10-15 นาที จากนั้นให้ล้างออกด้วยน้ำธรรมดา นำขึ้นพักไว้ให้สะเด็ดน้ำอีกรอบ เพียงเท่านี้ก็จะได้
ผักคะน้าที่ไม่ขม
ไม่เหม็นเขียว สามารถนำไปประกอบอาหารต่าง ๆ ได้แล้ว
ล้าง
ผักคะน้าให้สะอาด พักให้สะเด็ดน้ำ หั่นเป็นท่อนเตรียมไว้
ตักใส่จาน พร้อมเสิร์ฟ